วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่16


วันที่20 กุมภาพันธ์ 2556

กลุ่มเพื่อนสอบสอน
1. หน่วยไข่กับการทำอาหาร 2. หน่วยไข่จ๋า3. หน่วยน้ำ



อาจารย์ให้อ่านหนังสือ

คณิตศาสตร์มี 6 สาระ
สาระที่ 1  จำนวนและการดำเนินการ 
            - เข้าใจถึงความหลากหลายและการใช้จำนวนในชีวิตประจำวัน        
สาระที่ 2  การวัด
            - เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร และเวลา
สาระที่ 3 เรขาคณิต
             - รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่งทิศทางและระยะทาง
             - รู้จักจำแนกรูปเรขาคณิตและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการจัดกระทำ
สาระที่ 4 พีชคณิต
               - เข้าใจรูปแบบและความสัมพันธ์
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
               - รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อมนำเสนอ
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

 (อาจารย์ได้บอกว่า การสอบปลายภาคให้สอบนอกตารางแต่เอาวัน-เวลาเหมือนในตาราง  แล้วให้มาเจอกันที่ตึกคณะ)


ครั้งที่15


วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556

กิจกรรมการเรียนการสอน

-  กลุ่มเพื่อนสอบสอน เรื่องสัตว์น่ารัก
สื่อการสอนคณิตศาสตร์ปฐมวัย
 - เพลง
- นิทาน
- เกมการศึกษา
- ตารางสัมพันธ์สองแกน
- อื่น
เด็กๆช่วยครูนับสัตว์มีจำนวนเท่าไหร   ครูหยิบมาให้นักเรียนนับ
 สัตว์ในนี้มีอะไรบ้าง (ม้า เป็ด ควาย)   สัตว์แต่ละชนิดมีขากี่ขา   เป็นสัตว์ประเภทอะไรบ้าง
ประโยชน์ของสัตว์มีอะไรบ้าง
1.ตาราง
2.Mind Map
3.ตารางเปรียบเทียบ
4.ประโยชน์และโทษ
5.การสังเกต
นิทานที่เพื่อนนำมาใช้

สวัสดีเด็กดี น่ารัก         คุณเลขหนึ่งทายทัก จำฉันได้ไหม   
เลขหนึ่งมีจำนวนเท่าใด        นั่นยังไงหนูลองนับดู
กระต่าย 1 ตัวกินผัก         ลิงน้อยน่ารัก 1 ตัวกินกล้วย
ปลาเเสนสวย 1 ตัวว่ายมา        หึ่ง หึ่ง บนฟ้า ผึ้งน้อย 1 ตัว
 เลขหนึ่งมีจำนวนหนึ่ง       ถ้าหนูนับหนึ่งหนูต้องรู้
นับหนึ่งชู 1 นิ้วขึ้นมา               ใครทำได้มารับดาว 1 ดวง
                             เพลงนับเลข
โน้นนกบินมาลิ๊บๆ
นกกระจิบ 1 2 3 4 5
       อีกฝูงบินล่องลอยมา6 7 8 9 10 ตัว

-อาจารย์ให้ดูผลงานการเขียนแผนการเรียนการสอนของครูโรงเรียนอนุบาลเกษมพิทยา








ครั้งที่ 14


วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2556






ครั้งที่13


วันที่30 มกราคม 2556

เสนอความคิดเห็นการจัดกิจกรรมแสดงความสามารถของสาขาการศึกษาปฐมวัย
   - นิทานเวที
  - นิทรรศการสื่อ
  - เล่นดนตรี
  - ร้องเพลง
  - เล่านิทาน
  - เล่นเกม
  - รำ
  - งานศิลปะ
  - เต้น
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. การสอนเด็กต้องสอนเรื่องใกล้ตัวเด็ก
2. ประสบการณ์  คือ ต้องลงมือกระทำ เด็กจึงจะเกิดการเรียนรู้
3. การนับหรือการเรียง  ต้องเรียงจากซ้ายไปขวา เพื่อที่จะให้เด็กมีประสบการณ์เป็นพื้นฐานในการจำ
4. การวางตัวเลขจะวางไว้หน้าคำหรือหลังคำก็ได้แต่ต้องอยู่ในตำแหน่งเดียวกันกับคำนั้นๆ
5. การแยก     เป็นพื้นฐานของการลบ
6. การรวม     เป็นพื้นฐานของการบวก
7. ภาษา/คณิตศาสตร์    เป็นเครื่องมือที่พัฒนาการเรียนรู้ของมนุษย์
8. ถ้าเด็กยังไม่มีการลงมือกระทำ  แสดงว่า จะเป็นแค่เพียงการรับรู้เท่านั้น
-   ร้องเพลง
-   เล่านิทาน     =    3  อย่านี้สามารถใช้ร่วมกันในการเล่านิทานได้
-เต้น
 โอกาสที่เด็กจะทำได้มีสูงเพราะเด็กสามารถทำเป็นประจำได้ การลงมือกระทำจะประสบความสำเร็จดีมาก 
9. เครื่องมือที่การวัดที่เป็นทางการ  ไม่ควรนำม่ใช้กับเด็ก  เช่น  ไม้บรรทัด
10. ควรใช้เครื่องมือที่ไม่เป็นทางการ  เช่น  คืบ  ฝ่ามือ    
        - สาระที่ 2 การวัด  มาตรฐาน  เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและความยาว
        - สาระที่ 3 เลขาคณิต   มาตรฐาน  รู้จักตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง รูปทรง
        - สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น   มาตรฐาน  การนำเสนอข้อมูล / การรวบรวมข้อมูล

วันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่12


วันที่23 มกราคม พ.ศ.2556

เนื้อหาที่เรียน

        - อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับ"หน่วยการเรียนรู้"
        -อาจารย์ให้แบ่งกันเขียนแผนคนละวันตั้งแต่จันทร์-ศุกร์



วันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่11

วันที่16 มกราคม พ.ศ.2556

  ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากเป็นวันครู

                                                                  กิจกรรมการไหว้ครู






ครั้งที่10


วันที่ 9 มกราคม 2556
เนื้อหาการเรียนในวันนี้
อาจารย์สอนเกี่ยวกับศาสตร์ที่นำไปประยุกต์ใช้กับเด็ก
การจัดประสบการณ์ จะต้องคำนึงถึงอายุของเด็กที่จะบูรณาการณ์คณิตศาสตร์กับเด็ก
การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ต้องให้เด็กเห็นจำนานที่กระจายก่อนหรือเครื่องหมายสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ก่อนนำตัวเลขมาแทนค่า เพราเด็กจะเห็นเป็นตัวเลขเลยแต่ไม่ไม่รู้ว่ามันมีเท่าไรยังไงเอามาไดอย่างไร
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
          - มาตรฐานการจัดประสบการณ์  สสวท เป็นผู้จัดประสบการณ์
          - ฐานของการจัดประสบการณ์  เอามาจาก อาจารย์เยาวพา และอาจารย์นิตยา
มาตรฐานที่1  จำนวนและการดำเนินงาน
               จำนวนและตัวเลข เด็กปฐมวัยหากได้เรียนรู้จากการปฏิบัติโดยการใช้สื่อของจริงจะส่งผลให้มีทักษะการรับรู้เชิงจำนวนเนื่องจากธรรมชาติได้สร้างให้สมองของเด็กมีบริเวณที่เกี่ยวข้อง กับการรับรู้เชิงจำนวน ส่วนของสมองอย่างน้อย 3 บริเวณที่เกี่ยวข้องกับทักษะการรับรู้เชิงจำนวน สองส่วนแรกอยู่ที่สมองทั้งซีกซ้ายและขวาเกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ตัวเลข และบริเวณที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบจำนวน และบริเวณสุดท้ายอยู่ที่สมองซีกซ้ายคือ ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการนับปากเปล่าและความจำเกี่ยวกับจำนวน การคำนวณ โดยสมองทั้ง 3 ส่วนจะทำงานร่วมกัน พัฒนาการด้านการรับรู้เชิงจำนวนและคณิตศาสตร์เริ่มตั้งแต่ปฐมวัยและพัฒนาเรื่อยไปจนถึงวัยผู้ใหญ่
         การรับรู้เชิงจำนวน หมายถึง การที่เด็กรับรู้ว่าจำนวนคืออะไร มีความหมายอย่างไร สามารถประยุกต์ใช้ความเข้าใจ เรื่องจำนวนกับสิ่งต่างๆ รอบตัว สัญลักษณ์ของจำนวน การคำนวณง่ายๆในใจ รวมถึงการเข้าใจความสัมพันธ์ ของ จำนวนในเชิงเปรียบเทียบ เช่น เท่ากัน มากกว่า เป็นต้น เชื่อว่าพัฒนาการของการรับรู้เชิง จำนวนพัฒนา ตั้งแต่ก่อน เด็กเข้าสู่ระบบการศึกษาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการนับปากเปล่าและความจำเกี่ยวกับจำนวน การคำนวณ โดยสมองทั้ง 3 ส่วนจะทำงานร่วมกัน พัฒนาการด้านการรับรู้เชิงจำนวนและคณิตศาสตร์เริ่มตั้งแต่ปฐมวัยและพัฒนาเรื่อยไปจนถึงวัยผู้ใหญ่มีทักษะและความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานสำหรับการศึกษาที่สูงขึ้น และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐานที่2  การวัด
            ฐานการวัดค่า ค่าปริมาตร  โดยใช้เครื่องมือในการวัด เช่น ส่วนสูง+น้ำหนัก
1. เพื่อให้เด็กๆได้รู้จัก รูปทรงและรูปร่าง
2. เพื่อให้เด็กได้รู้จักความแตกต่างระหว่างรูปร่างกับรูปทรง
3.เพื่อให้เด็กได้รู้จักการชั่งน้ำหนักและการกะประมาณ
มาตรฐานที่3 เรขาคณิต
             รูปทรงและเนื้อที่
มาตรฐานที่4 พีชคณิต
             พืชคณิต     ความสัมพันธ์-การจับคู่-เป็นมาตรฐานขี้นเริ่มต้น ความสัมพันธ์ที่สูงขึ้นมาอีก คือ ความสัมพันธ์ 2 แกน
มาตรฐานที่5  การวิเคารห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
             -การรวบรวมข้อมูลต่างๆที่จะนำเสนอ
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
                      คณิตศาสตร์มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในชีวิตประจำวันของเด็กในการเล่นและพูดคุยของเด็กนั้น มักจะมีเรื่องคณิตศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องในชีวิตประจำวันอยู่เสมอ จากคำพูดของเด็กที่เราได้ยินมักจะพบอยู่เสมอว่ามีการพูดึงการเปรียบเทียบ การวัด และตัวเลข เช่น  อันนี้ราคาตั้ง 10 บาท หนู ไปโรงเรียน 8 โมงเช้า” “บ้านคุณยายอยู่ห่างจากบ้านหนู 20 กิโล” “หนูมีเงินตั้ง 5 บ้าน” “คุณแม่ให้เงินหนู 10 บาท ประโยคเหล่านี้ล้วนน่าสนใจและแสดงถึงการใช้คำศัพท์ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ มีทักษะและความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานสำหรับ
การศึกษาที่สูงขึ้น และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน